Criterion 1 : ผลและกระบวนการรับสมัครและคัดเลือกผู้เรียน

Criterion 1.1 มีการใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการกำหนดคุณสมบัติและจำนวนรับที่เหมาะสม

1. แผนการรับเข้าของแต่ละหลักสูตร ตาม มคอ.2 CUPT1.1.3

- ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 4 ปี ปีการศึกษา 2565

- ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 2 ปี ปีการศึกษา 2565

- ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ ปีการศึกษา 2565

- ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2565

- ระดับปริญญาเอก ปีการศึกษา 2565 

2. ขั้นตอนการรับนักศึกษา 

- ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 4 ปี ปีการศึกษา 2565 CUPT1.1.1

- ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 2 ปี ปีการศึกษา 2565 CUPT1.1.1

- ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ ปีการศึกษา 2565 CUPT1.1.1

- ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2565 CUPT1.1.2

- ระดับปริญญาเอก ปีการศึกษา 2565 CUPT1.1.2

3. เกณฑ์ จำนวนรับ(แนวโน้มผู้สมัคร) และระยะเวลา 

- ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 4 ปี ปีการศึกษา 2563-2565

- ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 2 ปี ปีการศึกษา 2563-2565

- ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ ปีการศึกษา 2563-2565

- ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2563-2565

- ระดับปริญญาเอก ปีการศึกษา 2563-2565 CUPT1.1.3

4. ช่องทางการสื่อสารเผยแพร่

- ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 4 ปี ปีการศึกษา 2563-2565

- ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 2 ปี ปีการศึกษา 2563-2565

- ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ ปีการศึกษา 2563-2565

- ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2563-2565

- ระดับปริญญาเอก ปีการศึกษา 2563-2565

5. ประเมินช่องทางการสื่อสาร ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี (ปีการศึกษา 2563-2565)

ผู้รับผิดชอบ: สมพงศ์, วิทวัส

6. ตารางแสดงข้อมูลการนำ PLOs, มาใช้ประกอบการกำหนดเกณฑ์การรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาโทและเอก ปีการศึกษา 2565 CUPT1.1.4

ผู้รับผิดชอบ: อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร, กนิษฐา

7. จุดคุ้มทุนของหลักสูตร และขั้นต่ำในการรับนักศึกษาแต่ละหลักสูตร  CUPT1.1.3

- ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 4 ปี 

- ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 2 ปี 

- ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ

- ระดับปริญญาโท

- ระดับปริญญาเอก 

ผู้รับผิดชอบ: คุณศิริพร

8. ความพร้อมของคณะฯ ด้านอาจารย์ สิ่งสนับสนุนการเรียน (ห้องเรียน, ห้องปฏิบัติการ) CUPT 1.1.5

9. สถานการณ์ปัจจุบันและข้อมูลย้อนหลังของหลักสูตร CUPT 1.1.5

ผู้รับผิดชอบ: คุณดวงใจ

Criterion 1.2 มีการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการรับสมัครและคัดเลือกผู้เรียน และใช้ผลการประเมินในการปรับปรุงเพื่อให้ได้ผู้เรียนที่มีคุณสมบัติและจำนวนตามต้องการ

1. คณะกรรมการวิชาการ ทำหน้าที่ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการรับสมัคร (เขียนกระบวนการกำกับ ติดตาม ประเมิน)

2. แผนการประชุม ของข้อที่ 1

3. รายงานการประชุม/สรุปการประชุม

ผู้รับผิดชอบ: ประธานคณะกรรมการวิชาการ และฝ่ายเลขานุการ (รองคณบดี และคุณสมพงศ์)

4. ผลการรับสมัครและคัดเลือกผู้เรียน ปีการศึกษา 2565 CUPT 1.1.6

5. ประเมินผลการรับสมัครและคัดเลือกผู้เรียน และใช้ผลการประเมินในการปรับปรุง

  • นำข้อมูลการรับนักศึกษามาวิเคราะห์ผลการรับเข้าทั้งเชิงจำนวน และคุณสมบัติ เพื่อเป็นแนวทางการปรับปรุงกระบวนการ
  • การวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค คู่แข่งขัน ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต กลยุทธ์เชิงรุก

6. กำหนดแผนการรับในปีการศึกษาถัดไป (จำนวน และคุณสมบัติ)

  • ระดับปริญญาตรี 
  • ระดับปริญญาโทและปริญญาเอก

7. การวิเคราะห์เชิงลึกของการรับนักศึกษา โดยเฉพาะคุณภาพของผู้เรียนที่มีเกณฑ์การรับเข้าที่แตกต่างกัน

ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี

ผู้รับผิดชอบ:

ระดับปริญญาตรี-อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร, คุณสมพงศ์

ระดับปริญญาบัณฑิตศึกษา-อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรกนิษฐา

Criterion 2 : ผลและกระบวนการจัดการศึกษาของแต่ละหลักสูตรต่อผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) และความต้องการจำเป็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

Criterion 2.1 มีการกำกับติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาของแต่ละหลักสูตรให้บรรลุคุณลักษณะพึงประสงค์ของบัณฑิต และผลการเรียนรู้

1. คณะกรรมการวิชาการ ทำหน้าที่ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการเรียนรู้แต่ละละดับ (เขียนกระบวนการกำกับ ติดตาม ประเมิน)

2. แผนการประชุม ของข้อที่ 1

3. รายงานการประชุม/บันทึก/การคุยกันในกลุ่มLine

ผู้รับผิดชอบ: ประธานคณะกรรมการวิชาการ และฝ่ายเลขานุการ (คณบดี และคุณสมพงศ์)

4. ผลการจัดการศึกษาแต่ละหลักสูตร

5. วิเคราะห์ผลการจัดการศึกษาแต่ละหลักสูตร เพื่อนำมากำหนดแนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษา

เพิ่มตามข้อเสนอแนะ

6. ทบทวนระยะเวลาในการทวนสอบของคณะกรรมการทวบสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักศึกษา

ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี ปีการศึกษา 2563-2565

ผู้รับผิดชอบ: ประธานคณะกรรมการวิชาการ และฝ่ายเลขานุการ (คณบดี และคุณสมพงศ์)
Criterion 2.2 มีการกำกับติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาของแต่ละหลักสูตร ให้ตอบสนองความต้องการและจำเป็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

1. คณะกรรมการวิชาการ ทำหน้าที่ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษาของแต่ละหลักสูตร (เขียนกระบวนการกำกับ ติดตาม ประเมิน)

2. แผนการประชุม ของข้อที่ 1

3. รายงานการประชุม

เพิ่มตามข้อเสนอแนะ

4. กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหลักสูตร ทั้ง 4 หลักสูตร ที่กำหนดไว้ในโครงร่างองค์กร

5. ประเมินผลการจัดการศึกษาของแต่ละหลักสูตรเพื่อนำมากำหนดแนวทางและนโยบาย ในการพัฒนาการจัดการศึกษาของแต่ละหลักสูตรและหมวดศึกษาทั่วไป ตอบสนองความต้องการและจำเป็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้ง 4 หลักสูตร

ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี

ผู้รับผิดชอบ: ประธานคณะกรรมการวิชาการ และฝ่ายเลขานุการ (คณบดี และคุณสมพงศ์)
Criterion 2.3 มีการกำกับดูแลกระบวนการวัด และประเมินผลผู้เรียนให้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้คาดหวังหรือคุณสมบัติที่พึงประสงค์ของผู้เรียน เพื่อทำให้มั่นใจว่ากระบวนการวัดและผลจากการประเมินผู้เรียนนั้นมีความถูกต้อง เชื่อถือได้และเป็นธรรม (ensure validity, reliability and fairness)

1. คณะกรรมการวิชาการ ทำหน้าที่ กำกับดูแลกระบวนการวัด และประเมินผลผู้เรียนให้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้คาดหวังหรือคุณสมบัติที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

2. แผนการประชุม ของข้อที่ 1

3. รายงานการประชุม

เพิ่มตามข้อเสนอแนะ

4. ทบทวนกระบวนการความถูกต้อง และเชื่อถือได้ เป็นธรรม

ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี ปีการศึกษา 2563-2565

ผู้รับผิดชอบ: ประธานคณะกรรมการวิชาการ และฝ่ายเลขานุการ (คณบดี และคุณสมพงศ์)

Criterion 2.4 มีการกำกับติดตามและประเมินผลของกระบวนการสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษา งานให้คำแนะนำและบริการนักศึกษา (student supports / services / advices) เพื่อให้นักศึกษามีคุณสมบัติที่พึงประสงค์ตามผลการเรียนรู้และศักยภาพทางอาชีพ

1. คณะกรรมการวิชาการ ทำหน้าที่ กำกับ ติดตาม ประเมินผลของกระบวนการสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษา งานให้คำแนะนำและบริการนักศึกษา (student supports / services / advices) เพื่อให้นักศึกษามีคุณสมบัติที่พึงประสงค์ตามผลการเรียนรู้และศักยภาพทางอาชีพ

2. แผนการประชุม ของข้อที่ 1

3. รายงานการประชุม

4. กิจกรรมสนับสนุนการเรียนรู้ ระดับหลักสูตร

5. เขียนกระบวนการการให้คำแนะนำระดับหลักสูตร และระดับคณะ

เพิ่มตามข้อเสนอแนะ

6. ผลประเมินงานให้คำแนะนำและบริการนักศึกษา (student supports / services / advices) แยกผลประเมินรายหลักสูตร C6.6 AUN มาสรุปที่นี่

7. นำผลไปปรับปรุง

  • นำผลประเมินไปใช้ในการพัฒนาการจัดการอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีคุณสมบัติที่พึงประสงค์ตามผลการเรียนรู้และศักยภาพทางอาชีพ
  • ทบทวนกระบวนการให้บริการนักศึกษาในการส่งเสริมการเรียนรู้ทุกกระบวนการ

ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี ปีการศึกษา 2563-2565

ผู้รับผิดชอบ: ประธานคณะกรรมการวิชาการ และฝ่ายเลขานุการ (คณบดี และคุณสมพงศ์)

Criterion 3 : ผลและกระบวนการวิจัย และกระบวนการสร้างสรรค์นวัตกรรม ตามทิศทางการพัฒนาด้านวิจัยและเพื่อผู้เรียน

Criterion 3.1 มีการใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งจากภายในและภายนอกคณะ/สถาบันในการกำหนดหรือทบทวนทิศทางการวิจัยของคณะ/สถาบัน

1. แผนปฏิบัติการวิจัยคณะพัฒนาการท่องเที่ยว ปีงบประมาณ 2565 และ 2566

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการวิจัยและบริการวิชาการ (รองคณบดี และคุณภัทราภรณ์)

Criterion 3.2 มีการกำกับติดตามและประเมินผลการวิจัยและกระบวนการวิจัยให้ตอบสนองทิศทางการวิจัยของคณะ/สถาบันและใช้ผลการประเมินในการปรับปรุงกระบวนการหรือปรับทิศทางการวิจัย

1. คณะกรรมการวิจัยและบริการวิชาการ

2. แผนการประชุม

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการวิจัยและบริการวิชาการ (รองคณบดี และคุณภัทราภรณ์)

Criterion 4 : ผลและกระบวนการบริการวิชาการ ตามทิศทางการพัฒนาด้านบริการวิชาการแก่ชุมชน และเพื่อผู้เรียน

Criterion 4.1 มีการใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งจากภายในและภายนอกคณะ/สถาบันในการกำหนดหรือทบทวนทิศทางการบริการวิชาการแก่ชุมชนและพัฒนาผู้เรียนของคณะ/สถาบัน ตามวิสัยทัศน์ ปณิธาน และ/หรือยุทธศาสตร์ของคณะ/สถาบันที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ

1. แผนปฏิบัติการบริการวิชาการคณะพัฒนาการท่องเที่ยว

- ปีงบประมาณ 2565

- ปีงบประมาณ 2566

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการวิจัยและบริการวิชาการ (รองคณบดี และคุณภัทราภรณ์)
Criterion 4.2 มีการกำกับติดตามและประเมินผลการบริการวิชาการและกระบวนการบริการวิชาการให้ตอบสนองทิศทางการบริการวิชาการของคณะ/สถาบันและ
ใช้ผลการประเมินในการปรับปรุงกระบวนการหรือปรับทิศทาง

1. คณะกรรมการวิจัยและบริการวิชาการ

2. แผนการประชุม

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการวิจัยและบริการวิชาการ (รองคณบดี และคุณภัทราภรณ์)

Criterion 5 : ผลและกระบวนการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อให้สอดคล้องหรือบูรณาการกับพันธกิจอื่นของสถาบัน

Criterion 5.1 มีการใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งจากภายในและภายนอกคณะ/สถาบันในการกำหนดหรือทบทวนทิศทางการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมให้สอดคล้องกับพันธกิจอื่นของคณะ/สถาบัน หรือเพื่อการพัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมความเข้าใจหรือการสืบสานต่อยอดศิลปวัฒนธรรม

1. แผนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมคณะพัฒนาการท่องเที่ยว

- ปีงบประมาณ 2565

- ปีงบประมาณ 2566

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทย (อ.ดร.วัชรีวรรณ และคุณวิทวัส)

Criterion 5.2 มีการกำกับดูแลและประเมินผลการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมและกระบวนการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมให้ตอบสนองทิศทางการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของหน่วยงานและใช้ผลการประเมินในการปรับปรุงกระบวนการหรือปรับทิศทาง

1. คณะกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทย (เขียนกระบวนกกำกับ ดูแลและประเมินผล)

2. แผนการประชุม

3. ผลการประเมินการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมและกระบวนการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ปีงบประมาณ 2565

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทย (อ.ดร.วัชรีวรรณ และคุณวิทวัส)

Criterion 6 : ผลและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล

Criterion 6.1 มีการใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการวางแผนอัตรากำลังของบุคลากร

1. แผนอัตรากำลังบุคลากรคณะพัฒนาการท่องเที่ยว

- ระยะ 5 ปี

- ระยะ 10 ปี

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการบริหารงานบุคคลและคุณนวนจันทร์ ทองมา

Criterion 6.2 มีการกำกับ ติดตาม ดำเนินการ และประเมินแผนอัตรากำลังของบุคลากร และใช้ผลการประเมินในการทบทวนและปรับปรุงอัตรากำลังให้มีความเหมาะสมกับความต้องการจำเป็นของคณะ/สถาบัน

1. คณะกรรมการบริหารงานบุคคลทำหน้าที่ กำกับ ติดตาม ดำเนินการ และประเมินแผนอัตรากำลังของบุคลากร (เขียนกระบวนการในการ กำกับ ติดตาม ดำเนินการ และการประเมินผลแผน)

2. แผนการประชุม

3. รายงานการประชุม

4. ประเมินผลแผนอัตรากำลัง ปีงบประมาณ 2565

5. การนำผลไปปรับปรุง เพื่อการทบทวนและปรับปรุงอัตรากำลังให้มีความเหมาะสมกับความต้องการจำเป็นของคณะ

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการบริหารงานบุคคลและคุณนวนจันทร์ ทองมา

Criterion 6.3 มีการกำหนดสมรรถนะของบุคลากรที่จำเป็นในการขับเคลื่อนพันธกิจต่าง ๆ ของคณะ/สถาบัน มีการติดตามประเมินสมรรถนะของบุคลากร และใช้ผลการประเมินเพื่อการปรับปรุงพัฒนาบุคลากร

1. ประกาศ กมอ เรื่อง แนวทางการพัฒนาคุณภาพอาจารย์เพื่อส่งเสริมการบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ฯ ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2566

1. สมรรถนะของบุคลากรที่จำเป็นในการขับเคลื่อนพันธกิจ(นอกเหนือจากของมหาวิทยาลัย) ด้านการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และด้านบริหารจัดการ ปีงบประมาณ

2. คณะกรรมการบริหารงานบุคคล ทำหน้าที่ กำกับ ติดตาม ประเมินสมรรถนะของบุคลากร

3. แผนการประชุม

4. รายงานการประชุม

5. ผลประเมินสมรรถนะของบุคลากร

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการบริหารงานบุคคลและคุณนวนจันทร์ ทองมา

Criterion 6.4 มีการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นในการได้รับการพัฒนาของบุคลากร และใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการวางแผนพัฒนาบุคลากร

1. กำหนดเป็นความต้องการจำเป็นในการได้รับการพัฒนาของบุคลากร จากข้อ C6.3 และข้อมูลความต้องการพัฒนาตนเองของบุคลากร

2. แผนพัฒนาบุคลากรคณะพัฒนาการท่องเที่ยว ปีงบประมาณ 2565

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการบริหารงานบุคคลและคุณนวนจันทร์ ทองมา

Criterion 6.5 มีการกำกับ ติดตาม ดำเนินการ และประเมินแผนพัฒนาบุคลากร และใช้ผลการประเมินในการปรับปรุงพัฒนาบุคลากร

1. คณะกรรมการบริหารงานบุคคล ทำหน้าที่ กำกับ ติดตาม ประเมินผลแผนพัฒนาบุคลากรคณะพัฒนาการท่องเที่ยว (เขียนกระบวนการในการ กำกับ ติดตาม ดำเนินการ และการประเมินผลแผน)

2. รายงานการประชุม

3. ผลประเมินแผนพัฒนาบุคลากร ปีงบประมาณ 2565

- รอบ 6 เดือน

- รอบ 12 เดือน

4. ใช้ผลประเมินในการปรับปรุงแผนพัฒนาบุคลากรในปีงบประมาณ 2566

5. ระบบติดตามความก้าวหน้าการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการบริหารงานบุคคลและคุณนวนจันทร์ ทองมา

Criterion 6.6 มีระบบการประเมินความดีความชอบ ให้รางวัล ยกย่อง และเพิ่มขวัญและกำลังใจของบุคลากร ด้วยความโปร่งใส ยุติธรรม สอดคล้องเหมาะสมกับทิศทางการพัฒนาของคณะ/สถาบัน และส่งเสริมให้เกิดความมุ่งมั่น ร่วมแรงร่วมใจของบุคลากรในการดำเนินพันธกิจต่าง ๆ (Merit System)

1. ระบบประเมินความดีความชอบแก่บุคลากรคณะฯ ตามพันธกิจ อาทิ

-ด้านการเรียนการสอน

-ด้านการวิจัย การบริการวิชาการ

-ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทย

-ด้านการบริหารจัดการ

2. เกณฑ์การประเมินในแต่ละด้าน ของข้อที่ 1

ผู้รับผิดชอบ:

- คณะกรรมการวิชาการ (คณบดี และคุณสมพงศ์)

- คณะกรรมการวิจัยและบริการวิชาการ (รองคณบดี และคุณภัทราภรณ์)

- คณะกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทย (อ.ดร.วัชรีวรรณ และคุณวิทวัส)

- คณะกรรมการบริหารงานบุคคล (คุณนวนจันทร์ ทองมา)

Criterion 7 : ผลและกระบวนการบริหารจัดการด้านกายภาพ

Criterion 7.1 มีการจัดหา บำรุงรักษา และประเมิน ผลการจัดหาและบำรุงรักษาวัสดุอุปกรณ์และสถานที่ที่ใช้ในการจัดการเรียน การสอน และการฝึกปฏิบัติของผู้เรียน เพื่อให้มีความเพียงพอพร้อมใช้ทันสมัยและตอบสนองความต้องการจำเป็นของการจัดการเรียนการสอนและการฝึกปฏิบัติ

1. ขั้นตอน การจัดหา วัสดุอุปกรณ์และสถานที่ที่ใช้ในการจัดการเรียน การสอน และการฝึกปฏิบัติของผู้เรียน ปีการศึกษา 2565

2. ขั้นตอนการบำรุงรักษา วัสดุอุปกรณ์และสถานที่ที่ใช้ในการจัดการเรียน การสอน และการฝึกปฏิบัติของผู้เรียน ปีการศึกษา 2565

3. ผลประเมิน วัสดุอุปกรณ์และสถานที่ที่ใช้ในการจัดการเรียน การสอน และการฝึกปฏิบัติของผู้เรียน เพื่อให้มีความพร้อมใช้ ทันสมัย ตอบสนองความต้องการจำเป็น ปีการศึกษา 2565

เพิ่มข้อเสนอแนะ

4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การใช้งานวัสดุอุปกรณ์และสถานที่ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ที่เริ่มปรากฎเป็นข้อจำกัดของคณะ ปีการศึกษา 2565

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการกายภาพ คุณสมพงศ์และคุณพิทักษ์แดน

Criterion 7.2 มีการจัดหา บำรุงรักษา ให้บริการ และประเมินผลการจัดหา บำรุงรักษา และให้บริการวัสดุอุปกรณ์และสถานที่ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้มีความเพียงพอ พร้อมใช้ ทันสมัย และตอบสนองความต้องการจำเป็นของการจัดการเรียน การสอน และการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและการบริหารจัดการพันธกิจต่าง ๆ

1. ขั้นตอน การจัดหา วัสดุอุปกรณ์และสถานที่ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ปีการศึกษา 2565

2. ขั้นตอนการบำรุงรักษา วัสดุอุปกรณ์และสถานที่ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ปีการศึกษา 2565

3. ผลประเมิน วัสดุอุปกรณ์และสถานที่ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้มีความเพียงพอพร้อมใช้ ทันสมัย ตอบสนองความต้องการจำเป็น ปีการศึกษา 2565

เพิ่มข้อเสนอแนะ

4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การใช้งานด้านสารสนเทศที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน การฝึกปฏิบัติของผู้เรียน เพื่อให้มีความเพียงพอ พร้อมใช้

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการกายภาพ คุณสมพงศ์และคุณพิทักษ์แดน

Criterion 7.3 มีการจัดหา บำรุงรักษา ให้บริการ และประเมินผลการจัดหา บำรุงรักษา และให้บริการทรัพยากรในห้องสมุด เพื่อให้มีความเพียงพอ พร้อมใช้ ทันสมัย และตอบสนองความต้องการจำเป็นของการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน

1. ขั้นตอนการสำรวจความต้องการใช้ทรัพยากรห้องสมุด ปีการศึกษา 2565

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการกายภาพ

2.ข้อมูลความพึงพอใจ

- ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ฯ ปีการศึกษา 2564, ปีการศึกษา 2565

- ผลประเมินความพึงพอใจของศิษย์เก่าต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ฯ ปีการศึกษา 2564, ปีการศึกษา 2565

- ผลประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ และบุคลากรต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ฯ ปีการศึกษา 2564, ปีการศึกษา 2565

ผู้รับผิดชอบ: อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร,กนิษฐา,ดวงใจ, สมพงศ์, วิทวัส

3. ส่งต่อข้อมูลผลการประเมินการให้บริการไปยังสำนักหอสมุดเพื่อทราบ

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการกายภาพ

Criterion 7.4 มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ สภาพแวดล้อมทางสังคม และสภาพแวดล้อมทางจิตวิทยา ที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ ศักยภาพ คุณภาพชีวิต สุขภาพ
และความปลอดภัยของผู้เรียน

1. คณะพัฒนาการท่องเที่ยวได้ดำเนินการดังนี้  

1.1 ข้อมูลความต้องการจากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกี่ยวกับความต้องการสภาพแวดล้อมในมติต่าง ๆ

1.2 คณะพัฒนาการท่องเที่ยวจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ที่มีมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความปลอดภัย

1.3 ปีการศึกษา 2565 คณะฯ ได้เพิ่มการให้บริการด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความปลอดภัยอย่างไรบ้าง

อาทิ

- การดำเนินการตามมาตรการความปลอดภัย

- การซ้อมหนีไฟ

- การตรวจเช็คถังดับเพลิง

- การจัดเตรียมสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้มีต้องการพิเศษ

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการกายภาพ

1.4 คณะได้จัดสภาพแวดล้อมทางสังคม จิตใจที่เอื้อต่อการเรียน การวิจัย และคุณภาพชีวิต

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการกายภาพ

1.5 ผลประเมินความพึงพอใจ

- ผลประเมินด้านการประเมินสภาพแวดล้อมทางกายภาพสังคม และจิตใจที่เอื้อต่อการเรียน การวิจัย และ คุณภาพชีวิตส่วนบุคคล (ประเมินจากนักศึกษา ศิษย์เก่าและอาจารย์)

ผู้รับผิดชอบ: อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร,กนิษฐา,ดวงใจ, สมพงศ์, วิทวัส

คณะกรรมการกายภาพ เขียน SAR อธิบายการดำเนินงานของคณะ และ เช่น (มาตราการ 3 ด้าน environmental, health, and safety) อัคคีภัย ทางหนีไฟ กรณีมีการบาดเจ็บเกิดขึ้นมีมาตราการอย่างไร กรณีมีผู้มีความต้องการพิเศษนักศึกษาจะดำเนินการอย่างไร-เข้ากรรมการคณะ

Criterion 8 : ผลและกระบวนการบริหารจัดการด้านภาวะผู้นำ ธรรมาภิบาล และการตอบสนองผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

Criterion 8.1 มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นและความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งภายในและภายนอกคณะ/สถาบันอย่างเป็นระบบ

1. รายชื่อกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและช่องทางการสื่อสาร กับกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของคณะพัฒนาการท่องเที่ยว

2. ขั้นตอนการสื่อสารกับกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามพันธกิจ

3. สรุปความคิดเห็นและความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งภายในและภายนอก

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

4. ทบทวนกระบวนการและกำหนดเป้าหมาย การรับฟังความคิดเห็นจากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และบริหารความเสี่ยง ฝ่ายเลขานุการ (คณบดี และคุณดวงใจ)

Criterion 8.2 มีการใช้ข้อมูลความคิดเห็นและความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งสารสนเทศอื่นที่เกี่ยวข้องในการจัดทำวิสัยทัศน์ พันธกิจ และแผนกลยุทธ์

1. ความเชื่อมโยงของความคิดเห็นและความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และแผนกลยุทธ์ของคณะฯ จากข้อ C8.1

2. แผนกลยุทธ์คณะพัฒนาการท่องเที่ยว

3. แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

4. ประเมินกระบวนการใช้ข้อมูลและสารสนเทศต่าง ๆ

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และบริหารความเสี่ยง ฝ่ายเลขานุการ (คณบดี และคุณดวงใจ)

Criterion 8.3 มีกระบวนการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ กำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินการตามแผนกลยุทธ์อย่างเป็นระบบ และใช้ผลการประเมินในการปรับปรุงพัฒนาเพื่อผลักดันให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายเชิงกลยุทธ์

1. ขั้นตอนการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ ปีงประมาณ 2565

2. คณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และบริหารความเสี่ยง ทำหน้าที่ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินการตามแผนกลยุทธ์ (เขียนกระบวนการ)

3. แผนการประชุม

4. รายงานการประชุม/บันทึก/สรุปการประชุม

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

5. ผลประเมินกระบวนการถ่ายทอดกลยุทธ์สู่การปฏิบัติและใช้ผลการประเมินเพื่อปรับปรุงการดำเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และบริหารความเสี่ยง ฝ่ายเลขานุการ (คณบดี และคุณดวงใจ)

Criterion 8.4 มีกระบวนการสื่อสารข้อมูลสำคัญตามพันธกิจและกระบวนการสร้างความผูกพันกับบุคลากรและผู้เรียน รวมทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญอย่างเป็นระบบ

1. กระบวนการสื่อสารข้อมูลสำคัญตามพันธกิจ กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(บุคลากร และนักศึกษา)

2. ข้อมูลจากการสื่อสารในแต่ละช่องทาง และวิเคราะห์ผลที่มีต่อการสร้างความผูกพันกับกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

3. กระบวนการสร้างความผูกพัน กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (บุคลากร และนักศึกษา)

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และบริหารความเสี่ยง ฝ่ายเลขานุการ (คณบดี และคุณดวงใจ)

Criterion 8.5 มีกระบวนการประเมินภาวะผู้นำ ธรรมาภิบาล และผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารคณะ/สถาบัน รวมทั้งผู้บริหารสูงสุด และสภามหาวิทยาลัย/สถาบัน และใช้ผลการประเมินเพื่อการพัฒนาปรับปรุง

1. การนำผลการประเมินปีงบประมาณ 2564 มาปรับปรุงการทำงาน ปีงบประมาณ 2565

2. รายงานการประชุมคณะกรรมการประจำคณะฯ เพื่อทบทวนระบบ และกลไกในการประเมินผู้บริหาร เดือนกันยายน 2565

3. ผลประเมินภาวะผู้นำ ธรรมาภิบาล และผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารคณะ (คณบดี รองคณบดี ผู้อำนวยการสำนักงานคณบดี) ปีงบประมาณ 2565

4. ใช้ผลการประเมินเพื่อการพัฒนาปรับปรุง ปีงบประมาณ 2566 อย่างเป็นระบบ

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการบริหารงานบุคคล (คณบดี และคุณนวนจันทร์)

Criterion 8.6 มีการใช้ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาทุกระดับในการพัฒนา ปรับปรุง การบริหารและการดำเนินพันธกิจของคณะ/สถาบัน

1. ผลการประเมินระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2562 - 2564

2. ผลการประเมินระดับคณะพัฒนาการท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2562- 2564

3. ผลการวิเคราะห์การประกันคุณภาพทุกระดับปีการศึกษา 2564 ตั้งแต่รายวิชาในหมวดศึกษาทั่วไป หลักสูตร คณะ เพื่อวางแผนในการพัฒนา/ปรับปรุงพันธกิจต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับทิศทาง วิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้ ปีการศึกษา 2565

4. คณะกรรมการประกันคุณภาพ ทำหน้าที่ กำกับ ติดตามให้มีการดำเนินงานตามแผนที่กำหนดไว้ และรายงานให้คณะกรรมการประจำคณะรับทราบ รอบ 6 เดือน รอบ 12 เดือน

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการประกันคุณภาพ 


ปรับปรุงข้อมูล 9/7/2566 9:46:07
, จำนวนการเข้าดู 0