ข้อมูลประกอบเกณฑ์ AUN-QA ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้

Criterion 5 - Criterion 8 

ข้อมูลประกอบเกณฑ์ AUN-QA ของคณะพัฒนาการท่องเที่ยว 

Criterion 1 : Expected Learning Outcomes

Criterion 1.1 การกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ได้รับการจัดทำขึ้นอย่างเหมาะสมตามหลักผลการเรียนรู้ (learning taxonomy) โดยผลการเรียนรู้ที่กำหนดขึ้นสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจของมหาวิทยาลัย และ มีการสื่อสารไปยังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด

1. ข้อมูลมหาวิทยาลัยและคณะ

1.1 ข้อมูลวิสัยทัศน์ พันธกิจของมหาวิทยาลัยแม่โจ้

1.2 ข้อมูลวิสัยทัศน์ พันธกิจของคณะพัฒนาการท่องเที่ยว

ปีงบประมาณ 2566 

ปีงบประมาณ 2567

ผู้รับผิดชอบ: คุณดวงใจ

2. ข้อมูลหลักสูตร

2.1 มคอ.2 หลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ

หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2559

หลักสูตรปรับปรุง พ..2564 

2.2 มคอ.2 หลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว

หลักสูตรปรับปรุง พ..2555

หลักสูตรปรับปรุง พ..2560

หลักสูตรปรับปรุง พ..2565  

2.3 มคอ.2 หลักสูตรระดับปริญญาโท สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว

หลักสูตรปรับปรุง พ..2556

หลักสูตรปรับปรุง พ..2561

หลักสูตรปรับปรุง พ..2565  

2.4 มคอ.2 หลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว

หลักสูตรปรับปรุง พ..2556

หลักสูตรปรับปรุง พ..2561

หลักสูตรปรับปรุง พ..2565

ผู้รับผิดชอบ: กนิษฐา

Criterion 1.2 หลักสูตรแสดงผลผลการเรียนรู้ที่คาดหวังทุกรายวิชา (CLOs) โดยถูกออกแบบและได้รับการจัดรูปแบบอย่างเหมาะสมต่อผลการเรียนรู้ ที่คาดหวังและสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (PLOs)

1. ข้อมูลความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตใหม่ที่มีต่อหลักสูตร (ข้อมูลของกองแผนงาน มหาวิทยาลัย)

ข้อมูลปี 2564 4 หลักสูตร 

ข้อมูลปี 2565 4 หลักสูตร

ผู้รับผิดชอบ:กนิษฐา

2. ข้อมูลความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จากการจัดทำแผนปฏิบัติการคณะพัฒนาการท่องเที่ยว

ปีงบประมาณ 2564

ปีงบประมาณ 2565

ปีงบประมาณ 2566  ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2566 File Word  

ปีงบประมาณ 2567

ผู้รับผิดชอบ: ดวงใจ

Criterion 1.3 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังประกอบด้วยทั้งผลลัพธ์การเรียนรู้ทั่วไป (ที่เกี่ยวข้องกับสื่อสารต่างๆ ทั้ง การเขียน การพูด การแก้ไขปัญหา เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการทำงานเป็นทีม ฯลฯ ) และผลลัพธ์ การเรียนรู้เฉพาะทาง (ที่เกี่ยวข้องกับความรู้และทักษะของสาขาวิชา
Criterion 1.4 มีการรวบรวมข้อกำหนดหรือความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียครบถ้วน โดยเฉพาะผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกและสะท้อนให้เห็น ในผลการเรียนรู้ที่คาดหวังตามความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

1. ตารางแสดงกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความต้องการและความคาดหวัง และ การตอบสนองในแต่ละกลุ่ม ข้อมูลปีการศึกษา 2565/ปีงบประมาณ 2566
 
   ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2566 File Word  

2. สรุปความต้องการและความคาดหวัง แยกเป็นหลักสูตร

ผู้รับผิดชอบ: ดวงใจ

Criterion 1.5 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังจะสามารถบรรลุผลกับผู้เรียนเมื่อสำเร็จการศึกษา

1. ระบบและกลไกในการกำกับ ติดตามการบรรลุผลกับผู้เรียนเมื่อสำเร็จการศึกษาของหลักสูตร (กระบวนการจัดการศึกษาของคณะฯ)

โดย คณะกรรมการวิชาการ

2. สรุปผลการเรียนรู้ของหลักสูตรเมื่อสิ้นปีการศึกษา

ปีการศึกษา 2564, ปีการศึกษา 2565ปีการศึกษา 2566

- .ตรี-TOBIZ ปีการศึกษา 2564, ปีการศึกษา 2565, ปีการศึกษา 2566

- .ตรี-TD ปีการศึกษา 2564, ปีการศึกษา 2565, ปีการศึกษา 2566

- .โท ปีการศึกษา 2564, ปีการศึกษา 2565, ปีการศึกษา 2566

- .เอก ปีการศึกษา 2564, ปีการศึกษา 2565, ปีการศึกษา 2566

ผู้รับผิดชอบ: อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และเจ้าหน้าที่ประจำหลักสูตร

Criterion 2 : Programme Structure and Content

Criterion 2.1 ข้อกำหนดของโปรแกรมและหลักสูตรทั้งหมด มีความครอบคลุมทันสมัยและพร้อมใช้งาน และมีการสื่อสารไปยังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด

1. การสำรวจ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ถึงการรับรู้ข้อมูลของหลักสูตร 

ปีการศึกษา 2565 -ไม่มีข้อมูล-

Criterion 2.2 การออกแบบหลักสูตรสอดคล้องและเหมาะสมกับการบรรลุผล การเรียนรู้ที่คาดหวัง
Criterion 2.3 ในการออกแบบหลักสูตรมีการคำนึงถึงและนำข้อเสนอแนะจาก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยเฉพาะผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกมาออกแบบหลักสูตร
  1. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ฯ ปีการศึกษา 2564 (นักศึกษา ศิษย์เก่า อาจารย์และบุคลากร)
  2. ผลประเมินความพึงพอใจต่อการให้บริการของคณะฯ ปีการศึกษา 2564 (นักศึกษา ศิษย์เก่า)
  3. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-TOBIZ
  4. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-TD
  5. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-ป.โทและป.เอก
  6. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-บุคลากร
  7. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-ศิษย์เก่า TOBIZ
  8. ผลประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต
  9. ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย    
  10. ภาวะการมีงานทำภายใน 1 ปี ปีการศึกษา 2563, ปีการศึกษา 2564 
  11. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2566 - ป.ตรี TOBIZ
  12. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2566 - ป.ตรี TD
  13. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2566 - ป.โท 
  14. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2566 - ป.เอก
  15. ภาวะการมีงานทำภายใน 1 ปี ปีการศึกษา 2565
Criterion 2.4 หลักสูตรมีการออกแบบรายวิชาที่ช่วยให้บรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวังอย่างเหมาะสม
Criterion 2.5 หลักสูตรมีโครงสร้างรายวิชามีการจัดลำดับวิชาอย่างเป็นระบบ และ เหมาะสม (ตั้งแต่ระดับขั้นพื้นฐาน ระดับกลาง ไปจนถึงรายวิชาเฉพาะทาง) และมีการบูรณาการ (ซึ่งกันและกัน)
Criterion 2.6 หลักสูตรที่มีตัวเลือกสำหรับผู้เรียนในการเรียนวิชาเอก และ/หรือ ความเชี่ยวชาญพิเศษ
Criterion 2.7 หลักสูตรได้รับการทบทวนเป็นระยะ ๆ ตามขั้นตอนที่กำหนด เพื่อให้มั่นใจว่าหลักสูตรมีความทันสมัย เป็นปัจจุบัน และมีความเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม

Criterion 3 : Teaching and Learning Approach

Criterion 3.1 ปรัชญาการศึกษามีความชัดเจนและมีการสื่อสารถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นกิจกรรมในการจัดการเรียนการสอน

ข้อมูลมหาวิทยาลัย

1. ปรัชญาการศึกษาของมหาวิทยาลัยแม่โจ้

ข้อมูลหลักสูตร

1. ปรัชญาการศึกษาของหลักสูตร ตามเล่ม มคอ. 2 

มคอ.2 หลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ

มคอ.2 หลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว ไฟล์ word 

มคอ.2 หลักสูตรระดับปริญญาโท สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว ไฟล์ word

มคอ.2 หลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว ไฟล์ word 

ผู้รับผิดชอบ: กนิษฐา

การสื่อสาร

1. ข้อมูลปรัชญาการศึกษามหาวิทยาลัยและหลักสูตร ที่ต้องการเผยแพร่ สื่อสารไปยังกลุ่มเป้าหมาย (อาจารย์และผู้เรียน) -ไม่มีข้อมูล-

2. การสำรวจการรับรู้ข้อมูลปรัชญาการศึกษามหาวิทยาลัยและหลักสูตร จากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (อาจารย์และผู้เรียน-ไม่มีข้อมูล-

ผู้รับผิดชอบ: อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและวิทวัส
Criterion 3.2 มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดการเรียนรู้
Criterion 3.3 มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย ยืดหยุ่น สอดรับกับผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง (CLOs) และ (PLOs)
Criterion 3.4 มีกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อช่วยสนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ รู้จักวิธีแสวงหาความรู้และปลูกฝังให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (เช่น การตั้งคำถามอย่างสร้างสรรค์และมีวิจารณญาณ ทักษะในการรับและประมวลผลข้อมูล การนำเสนอแนวความคิดใหม่ ๆ และแนวทางปฏิบัติใหม่ ๆ)
กิจกรรมในรายวิชาระดับปริญญาโทและเอก ปีการศึกษา 2565
Criterion 3.5 มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อปลูกฝังผู้เรียน มีความคิดใหม่ ๆ มีความคิดสร้างสรรค์ การคิดค้นนวัตกรรมและความคิดของการเป็นผู้ประกอบการ

ระดับคณะ

1. รายงานผลโครงการ ปีงบประมาณ 2565 (ตุลาคม 2564 – กันยายน 2565)

2. รายงานผลโครงการ ปีงบประมาณ 2566 (ตุลาคม 2565 – กันยายน 2566)

3. รายงานผลโครงการ ปีงบประมาณ 2567 (ตุลาคม 2566 - กันยายน 2567)
ผู้รับผิดชอบ: กนิษฐา

Criterion 3.6 กระบวนการและกลยุทธ์การจัดการเรียนการสอนมีการปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้แน่ใจว่ามีความสอดคล้องกับความต้องการ ของอุตสาหกรรมและสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

Criterion 4 : Student Assessment

Criterion 4.1 มีวิธีการประเมินผู้เรียนที่หลากหลายและสอดคล้องกันอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและวัตถุประสงค์การเรียนการสอน

ระดับปริญญาโทและปริญญาเอก 

- เกณฑ์การให้คะแนนสอบสัมภาษณ์วัดคุณสมบัติ (Oral Qualification) 
- เกณฑ์การให้คะแนนสอบสัมภาษณ์ประมวลความรู้

Criterion 4.2 มีนโยบายการประเมินผลและการอุทธรณ์ผลการประเมินที่ชัดเจน มีการสื่อสารไปยังผู้เรียนและนำไปใช้อย่างสม่ำเสมอ

ระดับคณะ

1. ระบบและกลไกการอุทธรณ์ผลการศึกษา และข้อร้องเรียนต่าง ๆ

2. เผยแพร่และสื่อสารให้อาจารย์ และนักศึกษารับทราบ -ไม่มีข้อมูล-

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการวิชาการ

Criterion 4.3 มีมาตรฐานและขั้นตอนการประเมินผลผู้เรียนที่ชัดเจน สำหรับติดตามความก้าวหน้าของผู้เรียนและการสำเร็จการศึกษาของผู้เรียน มีการสื่อสารไปยังผู้เรียนและนำไปใช้อย่างสม่ำเสมอ

ระดับหลักสูตรปริญญาตรี

1.ข้อกำหนดของสหกิจศึกษา

ผู้รับผิดชอบ: คุณสมพงศ์

ระดับบัณฑิตศึกษา

1. เกณฑ์ประเมินความก้าวหน้าในแต่ละเทอม - ไม่มีข้อมูล -

2. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา

3. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2565

ผู้รับผิดชอบ: กนิษฐา

Criterion 4.4 มีวิธีการประเมินผลที่ครอบคลุมวิธีการแบบรูบิค ระยะเวลาการประเมิน การกำหนดเกณฑ์การประเมิน การกระจายค่าน้ำหนักการประเมิน ไปจนถึงเกณฑ์การให้คะแนนและการตัดเกรดที่มีความถูกต้อง เชื่อถือได้และเป็นธรรมในการประเมิน
Criterion 4.5 มีวิธีการประเมินเพื่อวัดผลสำเร็จของผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตรที่มีความชัดเจน

ระดับคณะ

1. รายงานการประชุมคณะกรรมการประจำคณะฯ วาระติดตาม ผลการเรียนรู้ของหลักสูตรเป็นประจำทุกเทอม (เทอม 1/2565)

2. รายงานการประชุมคณะกรรมการประจำคณะฯ วาระติดตาม ผลการเรียนรู้ของหลักสูตรเป็นประจำทุกเทอม (เทอม 2/2565)

ผู้รับผิดชอบ: คุณนวนจันทร์

Criterion 4.6 มีการให้ข้อมูลป้อนกลับเกี่ยวกับการประเมินผู้เรียนที่เหมาะสมแก่เวลา และช่วยพัฒนาการเรียนรู้
Criterion 4.7 การประเมินผลผู้เรียนและกระบวนการต่าง ๆ มีการทบทวนและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มั่นใจว่ามีความสอดคล้องกับ ความต้องการของอุตสาหกรรม และสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง

ระดับคณะ

1. รายงานการประชุมคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ปีการศึกษา 2565

ผู้รับผิดชอบ: คุณสมพงศ์

Criterion 5 : Academic Staff

Criterion 5.1 มีการวางแผนบุคลากรสายวิชาการ (รวมถึงการสืบทอดตำแหน่ง การเลื่อนตำแหน่ง การโปรโมทขึ้นทำงานในตำแหน่งใหม่ การเลิกจ้างและแผนการเกษียณอายุ) ดำเนินการเพื่อให้แน่ใจว่าคุณภาพและปริมาณของบุคลากรทางวิชาการตอบสนองความต้องการด้านการศึกษา การวิจัย และการบริการทางวิชาการ

1. แผนอัตรากำลังของบุคลากรสายวิชาการ ระยะ 5 ปี (เกษียณอายุ สืบทอดตำแหน่ง การศึกษาต่อ)

2. แผนพัฒนาตนเองของบุคลากรสายวิชาการ

3. รายงานผลการพัฒนาตนเองของบุคลากรสายวิชาการ (ปีงบประมาณ) ด้านการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการทางวิชาการ (พิจารณาว่าสอดคล้องกันไหม)

4. รายงานข้อมูลการพัฒนาตนเองของบุคลากรสายวิชาการ และสายสนับสนุน ปีการศึกษา 2565 

5. รายงานข้อมูลการพัฒนาตนเองของบุคลากรสายวิชาการ และสายสนับสนุน ปีการศึกษา 2566

ผู้รับผิดชอบ: กนิษฐา 

Criterion 5.2 มีการวัดและติดตามปริมาณงานของบุคลากรสายวิชาการเพื่อปรับปรุง ประสิทธิภาพและคุณภาพของงานด้านการศึกษา การวิจัยและ การบริการทางวิชาการ

1. ข้อมูลค่า FTE 

ปีการศึกษา 2563

ปีการศึกษา 2564

ปีการศึกษา 2565

ปีการศึกษา 2566

2. ข้อมูลภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาระดับปริญญาตรี 

ปีการศึกษา 2565 

ปีการศึกษา 2566

ผู้รับผิดชอบ: คุณสมพงศ์

3. ข้อมูลภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์ 

ภาคการศึกษาที่ 1/2565

ภาคการศึกษาที่ 2/2565 

ภาคการศึกษาที่ 2/2566

ผู้รับผิดชอบ: คุณกนิษฐา 

4. ข้อมูลเพิ่มเติม
นักศึกษาเต็มเวลา (: Full Time Equivalent Student = FTESปีการศึกษา 2565
 

Criterion 5.3 มีการกำหนดสมรรถนะความสามารถของบุคลากรสายวิชาการ การประเมินผล และมีการสื่อสารให้ทราบ

1. ประกาศ กมอ.เรื่อง แนวทางการพัฒนาคุณภาพอาจารย์ฯ ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2566

ผู้รับผิดชอบ: คุณนวนจันทร์

2. สมรรถนะของอาจารย์ตามคู่มือของมหาวิทยาลัยแม่โจ้

ผู้รับผิดชอบ: คุณนวนจันทร์

3. สมรรถนะของอาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา ตามคู่มือของม.แม่โจ้ 

ปีการศึกษา 2565 -ไม่มีข้อมูล-

ปีการศึกษา 2566 -ไม่มีข้อมูล-

ผู้รับผิดชอบ: กนิษฐา

4. ระบบและกลไกการสื่อสารข้อมูลให้อาจารย์และบุคลากรคณะทุกท่านในคณะฯ รับทราบ

ผู้รับผิดชอบ: คุณนวนจันทร์

Criterion 5.4 มีการกำหนดตำแหน่งหน้าที่และจัดสรรบุคลากรสายวิชาการที่มี ความเหมาะสมกับคุณสมบัติ ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์และความถนัด
Criterion 5.5 มีการวัดประเมินผล และการเลื่อนตำแหน่งของบุคลากรสายวิชาการ ที่มีความเหมาะสมตามระบบคุณธรรมที่สอดคล้องกับงานด้านการศึกษา

1. ประกาศคณะฯ เรื่อง หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นเงินเดือนของคณะ

2. ขั้นตอนการเลื่อนขั้น ของคณะพัฒนาการท่องเที่ยว 

ปีงบประมาณ 2565, ปีงบประมาณ 2566, ปีงบประมาณ 2567

3. ขั้นตอนการโปรโมท (ที่นอกเหนือจากการเลื่อนขั้นเงินเดือนปกติ)

ผู้รับผิดชอบ: คุณนวนจันทร์ หมายเหตุ เอกสารครอบคลุมทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน

Criterion 5.6 มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ความความรับผิดชอบของบุคลากร สายวิชาการที่ชัดเจน โดยคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมจรรยาบรรณทางวิชาชีพและเสรีภาพทางวิชาการ และมีการสื่อสารให้ทราบ

1. สิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ของอาจารย์ภายในจรรยาบรรณวิชาชีพของอาจารย์ /ขอบเขตในการทำงาน /การนำทรัพยากรของราชการไปใช้ในการทำงานตามสิทธิที่สามารถดำเนินการได้

2. ช่องทางการสื่อสารและสร้างความเข้าใจให้อาจารย์(ทางวาจา และทางเอกสาร)

ผู้รับผิดชอบ: คุณนวนจันทร์ หมายเหตุ เอกสารครอบคลุมทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน

Criterion 5.7 มีการกำหนดและวางแผนความต้องการด้านการฝึกอบรมและพัฒนาการของบุคลากรสายวิชาการอย่างเป็นระบบ และมีการดำเนินกิจกรรมด้านการฝึกอบรมและพัฒนาที่เหมาะสม เพื่อตอบสนอง ความต้องการที่ได้กำหนดไว้

1. พันธกิจของคณะฯ 4 พันธกิจ

2. โดยถอดพันธกิจออกมาเป็นสิ่งที่คณะฯ ต้องการให้คนไปพัฒนาตนเอง (Need)

3. ระบบและกลไกในการพัฒนาตนเองของคณะฯ (กรอก want ออกจาก Need)

4. สรุปผลปลายปีงบประมาณ และสอดคล้องกับพันธกิจ

5. ระบบติดตามความก้าวหน้าการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 

ผู้รับผิดชอบ: คุณนวนจันทร์

Criterion 5.8 มีการบริหารจัดการผลการปฏิบัติงาน รวมถึงการให้รางวัลและ การยอมรับ เพื่อประเมินคุณภาพที่สอดคล้องกับงานด้านการศึกษาการวิจัยและการบริการทางวิชาการ

1. ตาราง number of academic staff (specify reference date and method of calculation used for FTE of academic staff) และดู head count กับ FTE ซึ่งจะนับอย่างไรขึ้นอยู่กับหน่วยงานเป็นคนกำหนด

2. คณะฯ มีเกณฑ์ในการให้รางวัล ( การวิจัยและการบริการทางวิชาการ)

3. กระบวนการให้รางวัล (เกณฑ์การประเมิน)

ผู้รับผิดชอบ: คุณนวนจันทร์

Criterion 6 : Student Support Services

Criterion 6.1 มีการกำหนดและประกาศนโยบายการรับผู้เรียน เกณฑ์การรับเข้า และขั้นตอนการรับเข้าเรียนในหลักสูตรอย่างชัดเจน มีการสื่อสารเผยแพร่และเป็นปัจจุบัน

1. การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำมากำหนดจำนวนรับเข้าของแต่ละหลักสูตร ปีการศึกษา 2565 

    การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำมากำหนดจำนวนรับเข้าของแต่ละหลักสูตร ปีการศึกษา 2566

2. ขั้นตอนการรับนักศึกษาปริญญาตรี ปีการศึกษา 2565 

3. จำนวนรับที่ระบุไว้ใน มคอ.2

4. ระบบและกลไกการรับสมัครและคัดเลือก ป.ตรี ปีการศึกษา 2565 

5. ระบบและกลไกการรับสมัครและคัดเลือกป.โทและเอก ปีการศึกษา 2565 

6. ช่องทางการสื่อสารเผยแพร่ -ไม่มีข้อมูล-

7. ประเมินช่องทางการสื่อสาร ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี 

-ไม่มีข้อมูล-

6. จำนวนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 และการวิเคราะห์ข้อมูลการรับเข้า การสำเร็จการศึกษา และการเทียบเคีบงกับคู่เทียบ ระดับป.โทและป.เอก ปีการศึกษา 2566

ผู้รับผิดชอบ: คุณสมพงศ์, คุณวิทวัส

Criterion 6.2 มีการวางแผนทั้งระยะสั้นและระยะยาวของการบริการสนับสนุนทางด้านวิชาการและที่ไม่ใช่ทางวิชาการ เพื่อให้แน่ใจว่าการบริการสนับสนุนงานด้านการสอน การวิจัยและการบริการวิชาการ มีความเพียงพอและมีคุณภาพ

1. แผนบริการการศึกษาทั้งระยะสั้น 1 ปี และ ระยะยาว 5 ปี ที่ประกอบด้วย ระยะยาว

- การพัฒนาผู้เรียนอย่างไรตาม PLO

- กิจกรรมพัฒนานักศึกษา

- การบริการผู้เรียน

- กำหนด KPI ของเเผน ระยะสั้น

- การพัฒนาผู้เรียนตาม YLO

- กิจกรรมพัฒนานักศึกษา

- การกำกับ ติดตามนักศึกษา

- การประชุมทุก 3 เดือน

ผู้รับผิดชอบ: คุณสมพงศ์ และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

Criterion 6.3 มีระบบติดตามความก้าวหน้าผลการเรียน และการตรวจสอบภาระ การเรียนของผู้เรียนที่เพียงพอ โดยมีการบันทึกไว้อย่างเป็นระบบ โดยมีการให้ข้อมูลย้อนกลับ และข้อเสนอแนะแก่ผู้เรียนและดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่องได้ทันท่วงที หากจำเป็น

1. ระบบและกลไก การติดตามความก้าวหน้า

- ระดับปริญญาตรี

ระดับปริญญาโทและปริญญาเอก 

2. รายงานผลการติดตามความก้าวหน้า 

- ระดับปริญญาตรี

ผู้รับผิดชอบ: คุณสมพงศ์

-รายงานผลการติดตามความก้าวหน้า
ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก

ผู้รับผิดชอบ: กนิษฐา

Criterion 6.4 มีการให้คำแนะนำทางวิชาการ กิจกรรมเสริมหลักสูตร การเข้าแข่งขันของผู้เรียน และการบริการสนับสนุนช่วยเหลือผู้เรียนด้านต่าง ๆ เพื่อปรับปรุงประสบการณ์การเรียนรู้ ทั้งทางด้านความรู้ ทักษะ และความสามารถในการทำงาน

1. แสดงผลลัพธ์ระดับปริญญาตรี

- การพัฒนาประสบการณ์เรียนรู้ (เป็นโครงการ/กิจกรรมก็ได้)

- เพิ่มศักยภาพในการทำงาน

- รายงานผลการแข่งขันในระดับคณะ (จำนวน)

- กิจกรรมเสริมหลักสูตร (จำนวน)

ผู้รับผิดชอบ: คุณสมพงศ์ 

2. แสดงผลลัพธ์ระดับปริญญาโทและปริญญาเอก

- การพัฒนาประสบการณ์เรียนรู้ ศักยภาพการทำงานและกิจกรรมเสริมหลักสูตร

        - รายงานผลการแข่งขันในระดับคณะ (จำนวน) 

        - กิจกรรมเสริมหลักสูตร

        - Schedule การเรียนตลอดระยะเวลาที่ศึกษาในหลักสูตร 

       - แผนการเรียนของหลักสูตร (รายวิชาที่เรียน)

ผู้รับผิดชอบ: กนิษฐา

Criterion 6.5 มีการกำหนดสมรรถนะ ความสามารถของเจ้าหน้าที่สายสนับสนุนที่ชัดเจน เกี่ยวข้องกับความสามารถในการให้บริการผู้เรียน มีการกำหนดวิธีการประเมินผลที่มีความชัดเจน เพื่อให้มั่นใจว่าสามารถให้บริการแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือผู้มารับบริการได้อย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ

1. สมรรถนะ ความสามารถของเจ้าหน้าที่สายสนับสนุน

ผู้รับผิดชอบ: อาจารย์ ดร.วลัยลดา ถาวรมงคลกิจ และคณะกรรมการประกันคุณภาพ

2. เกณฑ์การประเมินผล สมรรถนะ ความสามารถของเจ้าหน้าที่สายสนับสนุน

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการบริหารงานบุคคล

Criterion 6.6 มีการประเมินผลการให้การบริการและช่วยเหลือผู้เรียน โดยมีการเทียบเคียงสมรรถนะและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

1. ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการให้บริการของคณะฯ

ปีการศึกษา 2564

ปีการศึกษา 2565

ผู้รับผิดชอบ: ระดับปริญญาตรี-คุณสมพงศ์ , ระดับบัณฑิตศึกษา-กนิษฐา

2. กำหนดหน่วยงานที่จะเทียบเคียง

ผู้รับผิดชอบ: ระดับปริญญาตรี-คุณสมพงศ์ , ระดับบัณฑิตศึกษา-กนิษฐา

3. เอกสารรายงานผลตามตารางในเล่ม AUN-QA Ver. 4.0 หน้า 32

4. เอกสารรายงานผลตามตารางในเล่ม AUN-QA Ver. 4.0 หน้า 33 จำนวน 2 ตาราง

- ระดับปริญญาตรี 

ระดับปริญญาโท 

ระดับปริญญาเอก

ผู้รับผิดชอบ: ระดับปริญญาตรี-คุณสมพงศ์ , ระดับบัณฑิตศึกษา-กนิษฐา

Criterion 7 : Facilities and Infrastructure

Criterion 7.1 มีทรัพยากรทางกายภาพและสิ่งอำนวยความสะดวกที่ใช้ในการดำเนินการหลักสูตร รวมถึงเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ เพียงพอ

1. วิธีการจัดหา(กระบวนการ) ทรัพยากรทางกายภาพและสิ่งอำนวยความสะดวกใช้ในการดำเนินการหลักสูตร รวมถึงเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ ของคณะพัฒนาการท่องเที่ยว

2. ผลประเมินความต้องการทรัพยากรทางกายภาพและสิ่งอำนวยความสะดวกที่ใช้ในการดำเนินการหลักสูตร รวมถึงเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ ปีการศึกษา 2565

  • ระดับปริญญาตรี
  • ระดับปริญญาโท
  • ระดับปริญญาเอก

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการกายภาพ

3.ข้อมูลความพึงพอใจ

  1. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ฯ ปีการศึกษา 2564 (นักศึกษา ศิษย์เก่า อาจารย์และบุคลากร)
  2. ผลประเมินความพึงพอใจต่อการให้บริการของคณะฯ ปีการศึกษา 2564 (นักศึกษา ศิษย์เก่า)
  3. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-TOBIZ
  4. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-TD
  5. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-ป.โทและป.เอก
  6. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-บุคลากร
  7. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-ศิษย์เก่า TOBIZ

ผู้รับผิดชอบ: อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร,กนิษฐา,ดวงใจ, สมพงศ์, วิทวัส

Criterion 7.2 มีห้องปฏิบัติการ เครื่องมือ และอุปกรณ์ ที่มีความทันสมัย พร้อมใช้งาน และสามารถปรับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

1. วิธีการจัดหา(กระบวนการ) ทรัพยากรทางกายภาพและสิ่งอำนวยความสะดวกใช้ในการดำเนินการหลักสูตร รวมถึงเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ ของคณะพัฒนาการท่องเที่ยว

2. ผลประเมินความต้องการทรัพยากรทางกายภาพและสิ่งอำนวยความสะดวกที่ใช้ในการดำเนินการหลักสูตร รวมถึงเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ ปีการศึกษา 2565

  • ระดับปริญญาตรี 
  • ระดับปริญญาโท
  • ระดับปริญญาเอก

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการกายภาพ

3. ข้อมูลความพึงพอใจ

  1. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ฯ ปีการศึกษา 2564 (นักศึกษา ศิษย์เก่า อาจารย์และบุคลากร)
  2. ผลประเมินความพึงพอใจต่อการให้บริการของคณะฯ ปีการศึกษา 2564 (นักศึกษา ศิษย์เก่า)
  3. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-TOBIZ
  4. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-TD
  5. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-ป.โทและป.เอก
  6. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-บุคลากร
  7. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-ศิษย์เก่า TOBIZ

ผู้รับผิดชอบ: อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร,กนิษฐา,ดวงใจ, สมพงศ์, วิทวัส

Criterion 7.3 มีการจัดเตรียมห้องสมุดดิจิทัล เพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

1.ข้อมูลความพึงพอใจ

  1. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ฯ ปีการศึกษา 2564 (นักศึกษา ศิษย์เก่า อาจารย์และบุคลากร)
  2. ผลประเมินความพึงพอใจต่อการให้บริการของคณะฯ ปีการศึกษา 2564 (นักศึกษา ศิษย์เก่า)
  3. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-TOBIZ
  4. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-TD
  5. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-ป.โทและป.เอก
  6. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-บุคลากร
  7. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-ศิษย์เก่า TOBIZ

ผู้รับผิดชอบ: อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร,กนิษฐา,ดวงใจ, สมพงศ์, วิทวัส

2.ข้อมูลความพึงพอใจ

  1. ผลประเมินการให้บริการ สิ่งสนับสนุน และสภาพแวดล้อม ของคณะพัฒนการท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2566 (นักศึกษา-TOBIZ)
  2. ผลประเมินการให้บริการ สิ่งสนับสนุน และสภาพแวดล้อม ของคณะพัฒนการท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2566 (นักศึกษา-ป.ตรีTD)
  3. ผลประเมินการให้บริการ สิ่งสนับสนุน และสภาพแวดล้อม ของคณะพัฒนการท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2566 (นักศึกษา-ป.โท)
  4. ผลประเมินการให้บริการ สิ่งสนับสนุน และสภาพแวดล้อม ของคณะพัฒนการท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2566 (นักศึกษา-ป.เอก)
  5. ผลประเมินการให้บริการ สิ่งสนับสนุน และสภาพแวดล้อม ของคณะพัฒนการท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2566 (ศิษย์เก่า-TOBIZ)
  6. ผลประเมินการให้บริการ สิ่งสนับสนุน และสภาพแวดล้อม ของคณะพัฒนการท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2566 (ศิษย์เก่า-TD)
  7. ผลประเมินการให้บริการ สิ่งสนับสนุน และสภาพแวดล้อม ของคณะพัฒนการท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2566 (ศิษย์เก่า-ป.โท)
  8. ผลประเมินการให้บริการ สิ่งสนับสนุน และสภาพแวดล้อม ของคณะพัฒนการท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2566 (ศิษย์เก่า-ป.เอก)

ผู้รับผิดชอบ: อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร, สมพงศ์, วิทวัส

3.จำนวนทรัพยากรสารสนเทศที่สำนักหอสมุดมีให้บริการ แบ่งตามหลักสูตรการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย โดยแบ่งออกเป็น หนังสือ และสถิติการยืม
ข้อมูล ณ วันที่ 4 เมษายน 2566 (แยกหลักสูตร) 

4.สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีทุกประเภทประกอบด้วยหนังสือ วิทยานิพนธ์
วารสารและหนังสือพิมพ์ จุลสาร กฤตภาค โสตทัศนวัสดุ และฐานข้อมูลสำเร็จรูป CD-ROM DVD-ROM MULTIMEDIA (ภาพรวมของมหาวิทยาลัย) 

ผู้รับผิดชอบ: กนิษฐา

Criterion 7.4 มีการติดตั้งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อตอบสนองความต้องการของบุคลากรและผู้เรียน

1. กระบวนการของมหาวิทยาลัยที่ได้ดำเนินการติดตั้งระบบสารสนเทศ  ข้อมูลมหาวิทยาลัย

ผู้รับผิดชอบ: กนิษฐา

2. ผลสำรวจความต้องการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของหลักสูตร (ก่อนเปิดเทอม)

ปีการศึกษา 2565, ปีการศึกษา 2566 -ไม่มีข้อมูล-

ผู้รับผิดชอบ: คุณสมพงศ์

Criterion 7.5 มหาวิทยาลัยมีการจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย ที่สามารถเข้าถึงได้ในพื้นที่ในมหาวิทยาลัย โดยสามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการเรียน การสอน การวิจัย การบริการและการบริหารงานได้อย่างเต็มที่

1. กระบวนการ โครงสร้าง network infrastructure ข้อมูลมหาวิทยาลัย

2. ข้อมูลความพึงพอใจ

  1. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ฯ ปีการศึกษา 2564 (นักศึกษา ศิษย์เก่า อาจารย์และบุคลากร)
  2. ผลประเมินความพึงพอใจต่อการให้บริการของคณะฯ ปีการศึกษา 2564 (นักศึกษา ศิษย์เก่า)
  3. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-TOBIZ
  4. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-TD
  5. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-ป.โทและป.เอก
  6. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-บุคลากร
  7. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-ศิษย์เก่า TOBIZ

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการกายภาพ

Criterion 7.6 มีการกำหนดและดำเนินการตามมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความปลอดภัย รวมถึงการเข้าถึงสำหรับผู้ที่มีความต้องการพิเศษ

คณะพัฒนาการท่องเที่ยวได้ดำเนินการดังนี้

1. การกำหนดและดำเนินการตามมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพและความปลอดภัย รวมถึงในการเข้าถึงสำหรับผู้ที่มีความต้องการพิเศษ ของมหาวิทยาลัย
2. คณะพัฒนาการท่องเที่ยวมีมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความปลอดภัย

3. ปีการศึกษา 2565 คณะฯ ได้เพิ่มการให้บริการด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความปลอดภัยอย่างไรบ้าง อาทิ การดำเนินการตามมาตรการความปลอดภัย

  • การซ้อมหนีไฟ
  • การตรวจเช็คถังดับเพลิง

4. การจัดเตรียมสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้มีต้องการพิเศษ

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการกายภาพ

Criterion 7.7 มหาวิทยาลัยมีสภาพแวดล้อมทางกายภาพสังคมและจิตใจที่เอื้อต่อการเรียน การวิจัย และคุณภาพชีวิตส่วนบุคคล

1. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ สังคมและจิตใจที่เอื้อต่อการเรียน การวิจัยและคุณภาพชีวิตส่วนบุคคลของมหาวิทยาลัย
2. คณะได้จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ สังคม จิตใจที่เอื้อต่อการเรียน การวิจัย และคุณภาพชีวิต

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการกายภาพ

2. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ฯ (ด้านการประเมินสภาพแวดล้อมทางกายภาพสังคม และจิตใจที่เอื้อต่อการเรียน การวิจัย และ คุณภาพชีวิตส่วนบุคคล)

  1. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ฯ ปีการศึกษา 2564 (นักศึกษา ศิษย์เก่า อาจารย์และบุคลากร)
  2. ผลประเมินความพึงพอใจต่อการให้บริการของคณะฯ ปีการศึกษา 2564 (นักศึกษา ศิษย์เก่า)
  3. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-TOBIZ
  4. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-TD
  5. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-ป.โทและป.เอก
  6. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-บุคลากร
  7. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-ศิษย์เก่า TOBIZ

 ผู้รับผิดชอบ: อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร,กนิษฐา,ดวงใจ, สมพงศ์, วิทวัส

Criterion 7.8 มีการกำหนดสมรรถนะของเจ้าหน้าที่สายสนับสนุน ที่ทำหน้าที่ให้บริการที่เกี่ยวข้องกับสิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อให้แน่ใจว่าเจ้าหน้าที่สายสนับสนุนมีทักษะที่สอดคล้องกับความต้องการของ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

1. สมรรถนะความสามารถของเจ้าหน้าที่สายสนับสนุน ของคณะพัฒนาการท่องเที่ยวที่สนับสนุนการดำเนินงานของหลักสูตร

ผู้รับผิดชอบ: อ.ดร.วลัยลดา ถาวรมงคลกิจ และคณะกรรมการประกันคุณภาพ

2. เกณฑ์การประเมินผล สมรรถนะ ความสามารถของเจ้าหน้าที่สายสนับสนุน -ไม่มีข้อมูล-

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการบริหารงานบุคคล

3. ผลประเมินความพึงพอใจต่อการให้บริการของคณะฯ ปีการศึกษา 2565

  1. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ฯ ปีการศึกษา 2564 (นักศึกษา ศิษย์เก่า อาจารย์และบุคลากร)
  2. ผลประเมินความพึงพอใจต่อการให้บริการของคณะฯ ปีการศึกษา 2564 (นักศึกษา ศิษย์เก่า)
  3. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-TOBIZ
  4. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-TD
  5. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-ป.โทและป.เอก
  6. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-บุคลากร
  7. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-ศิษย์เก่า TOBIZ

4. ผลการทบทวนกระบวนการประเมินเพื่อนำไปปรับปรุงการประเมิน และแนวทางในการพัฒนาสมรรถนะให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้มีส่วนส่วนเสีย

ผู้รับผิดชอบ: อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร,กนิษฐา,ดวงใจ, สมพงศ์, วิทวัส

Criterion 7.9 มีการประเมินและการปรับปรุงคุณภาพของสิ่งอำนวยความสะดวก (ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการ ไอที และบริการนักศึกษา)

1. ผลการประเมินปีการศึกษา 2564 กระบวนการวิเคราะห์และวางแผนพัฒนาปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อหาแนวทางในการพัฒนา ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้มีส่วนส่วนเสีย

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการกายภาพ

2. ข้อมูลความพึงพอใจ

  1. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ฯ ปีการศึกษา 2564 (นักศึกษา ศิษย์เก่า อาจารย์และบุคลากร)
  2. ผลประเมินความพึงพอใจต่อการให้บริการของคณะฯ ปีการศึกษา 2564 (นักศึกษา ศิษย์เก่า)
  3. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-TOBIZ
  4. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-TD
  5. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-ป.โทและป.เอก
  6. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-บุคลากร
  7. ผลประเมินความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนและการให้บริการ ปีการศึกษา 2565-ศิษย์เก่า TOBIZ

ผู้รับผิดชอบ: อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร,กนิษฐา,ดวงใจ, สมพงศ์, วิทวัส

3. รายงานการประชุมพิจารณา ผลการประเมินปีการศึกษา 2565 กระบวนการวิเคราะห์และวางแผนพัฒนาปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อหาแนวทางในการพัฒนา ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้มีส่วนส่วนเสีย

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการกายภาพ

Criterion 8 : Output and Outcomes

Criterion 8.1 มีระบบการกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ อัตราการสำเร็จการศึกษา อัตราการออกกลางคันและเวลาเฉลี่ยในการสำเร็จการศึกษา เพื่อใช้ในการปรับปรุง

1.ข้อมูลนักศึกษาในปี การศึกษาต่างๆ ได้แก่

  • จำนวนนักศึกษาในหลักสูตร ปีการศึกษา 2565 (วันเปิดภาคการศึกษา และ วันสิ้นสุดภาคการศึกษาที่ 2)

ระดับปริญญาตรี

  • จำนวนนักศึกษา ปีการศึกษา 2565 ในแต่ละชั้นปี

ระดับปริญญาตรี

  • จำนวนนักศึกษาที่ลาออกหรือ retired (ปีการศึกษา 2563-2565)

ระดับปริญญาตรี

  • จำนวนนักศึกษาในหลักสูตรแต่ละชั้นปี และจำนวนที่ลาออกหรือ retired (ปีการศึกษา 2560-2565)

ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก

ผู้รับผิดชอบ: ระดับบัณฑิตศึกษา กนิษฐา

2. สรุปสาเหตุที่นักศึกษา retired ปีการศึกษา 2563-2565

ระดับปริญญาตรี

ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก 

3. ข้อมูลสาเหตุที่นักศึกษาใช้เวลาเรียน นานกว่าที่กำหนด เพื่อให้หลักสูตรหาแนวทาง ปรับปรุงแก้ไข (ปีการศึกษา 2561-2565)

ระดับปริญญาตรี

ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก

4. ข้อมูลของนักศึกษาที่ใช้เวลาในการศึกษา (ระยะเวลาตั้งแต่เข้าศึกษาจนสำเร็จการศึกษา) ปีการศึกษา 2563-2565

ระดับปริญญาตรี

ระดับปริญญาโท

ระดับปริญญาเอก

ผู้รับผิดชอบ: ระดับปริญญาตรี คุณสมพงศ์, ระดับบัณฑิตศึกษา กนิษฐา

Criterion 8.2 มีระบบการกำกับติดตาม และเทียบเคียงสมรรถนะ อัตราการได้งานทำ การเป็นผู้ประกอบการ และการศึกษาต่อของผู้เรียน เพื่อใช้ในการปรับปรุง

1. ข้อมูลภาวะการมีงานทำ

- เก็บข้อมูลการได้งานที่ตรงกับวิชาชีพด้านการท่องเที่ยว 

- ระยะเวลาในการได้งานทำ

- เงินเดือนเฉลี่ย ให้เป็นเงินเดือนแรกเข้าเฉลี่ย

- สาเหตุของการไม่ได้งานทำของผู้สำเร็จการศึกษา ในแต่ละหลักสูตรในปีการศึกษาต่างๆ -ไม่มีข้อมูล-

ระดับปริญญาตรี-TOBIZ

ระดับปริญญาตรี-TD

ระดับปริญญาโท

ระดับปริญญาเอก

ผู้รับผิดชอบ: ระดับปริญญาตรี คุณสมพงศ์, ระดับบัณฑิตศึกษา กนิษฐา

2. การได้รับเลื่อนตำแหน่งหลังจากการสำเสร็จการศึกษาระดับปริญญาโท และเอก หรือได้ทุน -ไม่มีข้อมูล-

ระดับปริญญาโท

ระดับปริญญาเอก

ผู้รับผิดชอบ: ระดับบัณฑิตศึกษา กนิษฐา

Criterion 8.3 มีระบบการกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงในการทำงานวิจัยของบุคลากรสายวิชาการและผู้เรียน ที่สอดคล้องตรงตามความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

1. มีระบบการกำกับติดตามและเทียบเคียง สมรรถนะ เพื่อปรับปรุงในการทำงานวิจัยของ บุคลากรสายวิชาการและผู้เรียน ที่สอดคล้องตรง ตามความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ผู้รับผิดชอบ: งานบริการวิชาการและวิจัย

2. ระดับบัณฑิตศึกษา -ข้อมูลการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา

ปี พ.ศ. 2565

ผู้รับผิดชอบ: ระดับบัณฑิตศึกษา กนิษฐา

Criterion 8.4 มีระบบกำกับติดตามข้อมูล เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสำเร็จของหลักสูตรตามเป้าหมายที่มีการจัดตั้งและกำหนดขึ้น

1. ระบบและกลไกในการกำกับ ติดตามการบรรลุผลกับผู้เรียนเมื่อสำเร็จการศึกษาของหลักสูตร โดย คณะกรรมการวิชาการ

2. สรุปผลการเรียนรู้ของหลักสูตรเมื่อสิ้นปีการศึกษา

  • ป.ตรี-TOBIZ ปีการศึกษา 2564 - 2565
  • ป.ตรี-TD ปีการศึกษา 2564 - 2565
  • ป.โท ปีการศึกษา 2564 - 2565
  • ป.เอกปีการศึกษา 2564 - 2565

ผู้รับผิดชอบ: อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และเจ้าหน้าที่ประจำหลักสูตร

Criterion 8.5 มีระบบการกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะระดับความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ เพื่อใช้ในการปรับปรุง

1. ระบบ กำกับติดตาม ที่คณะดำเนินการ

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการวิชาการ

2. ผลการประเมินปีการศึกษา 2564 กระบวนการวิเคราะห์และวางแผนพัฒนาปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อหาแนวทางในการพัฒนา ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้มีส่วนส่วนเสีย

3. กำหนดหน่วยงานที่จะเทียบเคียงระดับหลักสูตรที่กำหนดไว้ใน โครงร่างองค์กรของคณะ

ผู้รับผิดชอบ: คณะกรรมการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ของคณะฯ

ข้อมูลประกอบการเขียนรายงานการประเมินตนเอง 

1. รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564  (pdf)

  • ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 
  • ระดับปริญญตรี สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ 
  • ระดับปริญญาโท สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 
  • ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 

2. รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564  (Word)

3. Template รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2565 

4. ผลการประเมินระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2563 - 2565 

5. ข้อมูลส่วนที่ 1 (1.1 - 1.3.2) 

  • ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 
  • ระดับปริญญตรี สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ 
  • ระดับปริญญาโท สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 
  • ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 

6. ข้อมูล KPI 1.1 ปีการศึกษา 2565 

  • ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 
  • ระดับปริญญตรี สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ 
  • ระดับปริญญาโท สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 
  • ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 

7. ข้อมูล CDS  ปีการศึกษา 2565 

  • ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 
  • ระดับปริญญตรี สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ 
  • ระดับปริญญาโท สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 
  • ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว 

8. ข้อมูลรับ-จ่ายของหลักสูตร 


ปรับปรุงข้อมูล 16/5/2567 10:22:01
, จำนวนการเข้าดู 0